มิติใหม่ เซฟตี้ โซน การมีส่วนร่วมภาคประชาชน

 

กล่าวถึง เซฟตี้โซน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ต้องทำใจเพราะเป็นบ้านเราเป็นเรื่องปัญหาความไม่สงบ การสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ควรที่จะมีมาตรการออกมามันจะต้องเป็นอะไรที่มันจริงจังพอสมควรในส่วนของหอ การค้ามีบทบาทในการขับเคลื่อนเรื่องเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นภาคการค้า ภาคการลงทุน ภาคการเงิน จะทำอย่างไรก็ได้ไม่ว่าสถานการณ์จะเป็นอย่างไรจะต้องทำให้เศรษฐกิจมันเดินไป ข้างหน้าต่อไปให้ได้แล้วก็พอพูดถึงเรื่องเศรษฐกิจมันไม่แบ่งแยกว่าเศรษฐกิจ ต้องเฉพาะนักธุรกิจศาสนาใด

ทางด้านอาดิลัน มีทัศนะที่ว่า พื้นที่ปลอดภัยต้องครอบคลุมทั้งหอการค้าทั่วจังหวัดแต่ไม่ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตความเป็นอยู่ในสังคมนั้น พื้นที่ปลอดภัยเป็นหน้าที่ของรัฐที่จะต้องทำแต่จะต้องไม่กระทบกับสิทธิหรือ เสรีภาพแต่ต้องยอมรับว่าพื้นที่นี้มีเหตุการณ์ไม่ปกติต้องเปิดช่องให้กับรัฐ เข้ามาแต่รัฐจะต้องพึ่งระวังอ่าไปรอนสิทธิหรือเป็นการกระทบกับการใช้ชีวิต ของชาวบ้านถ้ามองในแง่ทำธุรกิจอย่างหอการค้าคนที่กระทบก็มีหลายกลุ่มโดยใน ส่วนของพ่อค้าก็มีการขายของโดยผู้บริโภคมีสิทธิ์ที่จะซื้อในพื้นที่ที่ไม่มี พื้นที่เซฟตี้โซนอาจจะปลอดภัยมากกว่าแต่หากเป็นร้านค้าที่จำเป็นที่ลูกค้า ต้องไปอยู่แล้วก็ไม่มีปัญหาแต่ผมมองว่ารัฐจะทำอะไรแม้แต่กำหนดมาตรการ ปลอดภัยก็นึกถึงหลายมุมมอง ไม่ว่าจะเป็นสิทธิ์ของชาวบ้านในส่วนการทำพื้นที่ปลอดภัยหลายคนให้ทำทั้งหมด ทั่วเขตเทศบาลยะลา

ต่อมาในเวทีเสวนาได้มีการกล่าวถึง ประเด็นในการค้าขายวัน โดยส่วนใหญ่แล้วพี่น้องมุสลิมปฏิบัติศาสนกิจหากคนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการปิด วันศุกร์ก็น่าจะมีการสลับกับวันเสาร์และวันอาทิตย์แต่โดยเวลาการทำงานของมัน มันก็มีอยู่แล้วโดยอาจจะมีการชดเชยการทำงานเพื่อให้งานมันขับเคลื่อนไปเพราะ การทำงานของมันก็มีวันอยู่แล้ว อาจจะมีการยืดหยุ่นโดยปกติในพื้นที่ก็จะปิดวันรายอ ตรุษจีนกันอยู่แล้เหมือนมีศาสนาเป็นตัวตั้งดังนั้นเพื่อให้พี่น้องปฏิบัติ ศาสนกิจก็ให้ปิดวันศุกร์แต่มาทงานวันอาทิตย์แทนเพราะโลกเศรษฐกิจอาเซียนมัน จะเคลื่อนที่อยู่  โดยประเด็นวันศุกร์ในตลอดนับเกือบ 50% ของพ่อค้าแม่ค้าไม่มาขายของแต่หากถามว่ากระทบหรือไม่ก็กระทบเพราะรายได้วัน ต่อวันและประเด็นวันศุกร์ให้ใช้วิจารณญาณด้วยว่ามีข้อมูลมากจากไหนโดยจะ กระทบต่อผู้ที่มีอาชีพการทำงานในวันศุกร์โดยชาวบ้านยังขาดความเชื่อมั่นของ ภาครัฐดันนั้นรัฐจะต้องให้ความเชื่อมั่นต่อเขาจริงๆ ส่วนใหญ่คนที่หยุดวันศุกร์มีการรับข้อมูลที่ไม่จริง มันเป็นจิตวิทยาที่คนต้องการให้เกิดความวุ่นวายให้และได้ผลผมเชื่อว่าทางรัฐ ต้องแก้เพราะเป็นปัญหาหลักทางเรื่องเศรษฐกิจที่รัฐจะต้องแก้ในมุมมองของผมผม มองว่าวันศุกร์เป็นวันที่มีการทำงานอยู่แต่ทุกภาคส่วนต้องให้ความเข้าใจว่า วันศุกร์เราทำงานได้มันไม่กระทบต่อการปฎิบัติศาสนกิจเพียงแต่เราต้องจัดสรร เวลาหากจะมีการทำงานวันอาทิตย์ก็คงจะเป้นความคิดที่ตกผลึกที่ทุกภาคส่วนให้ ความสนใจแต่ขบวนการก็มีปัญหาต่อว่าศาลและกระบวนการยุติธรรมจะว่าอย่างไรมัน กระทบหมดอีกทั้งก็เป็นหน้าที่ของความมั่นคงที่จะทำให้ประชาชนเชื่อมั่นเวลา คุยกันมักจะพูดถึงเรื่องภาคความมั่นคงยังขาดการมีส่วนรวมของประชาชนและ องค์กรต่างๆโดยเรามักไม่พูดถึงองค์กรเอกชนเลยส่วนใหญ่มักจะผลักดันให้กับภาค รัฐทั้งหมดแม้ตัวเรายังไม่มั่นใจในตังเองในการมีส่วนร่วมโดยที่เราตามหา องค์กรใดองค์หนึ่งในการรับผิดชอบมันก็จะไม่ประสบความสำเร็จแต่เราสามารถพูด คุยทำความเข้าใจกับคนในพื้นที่และเปิดใจในการแก้ปัญหาและในการที่จะดำเนิน การอะไรบางอย่างต้องมองภาพกว้างและจะต้องนึกถึงบริบททางสังคมและความเป็น สากลในการแก้ปัญหา

ส่วนวรรณกนก ใบแตดาโอ๊ะ จากกลุ่มลูกเหรียง ได้นำเสนอประเด็นที่เกี่ยวข้องกับวันศุกร์ไม่ต้องการให้หยุดวันศุกร์ใน พื้นที่สามจังหวัดโดยไม่ทราบว่าวัตถุประสงค์อะไรที่จะร้องหยุดวันศุกร์หรือ ว่าเรามีการเลือกปฏิบัติใหม่ในการหยุดวันศุกร์เราได้ประโยชน์อะไรในการหยุด วันศุกร์เราต้องปฏิบัติกฎสังคม ที่ผ่านเราได้รับผลกระทบวันศุกร์เพราะหน่อยงานทุกหน่อยงานจะให้สิทธิพิเศษ แก่คนมุสลิมในการปฏิบัติศาสนกิจวันศุกร์ไม่ว่าจะเป็นภาคราชการหรือภาค ประชาชนหากมีการหยุดวันศุกร์ก็จะกระทบโดยตรงสำคัญอีกเรื่องหนึ่งในการสร้าง ความเชื่อมั่นในภาคธุรกิจที่ผ่านเวทีไหนๆมักจะยกความมั่นคงมาร่วมเวทีสิ่ง ที่น่ากลัวที่สุด เราควรคำนึงถึงหน้าที่พลเมืองว่ามีมากแค่ไหนโดยที่เราต้องมองตัวเองว่าเป็น ทางออกหรือไม่จะทำอย่างไรให้คนในสามจังหวัดสำนึกหน้าที่ของพลเมืองให้มากที่ สุดแล้วทุกคนก็จะเป็นทางออกร่วมกันอีกทั้งเศรษฐกิจจะเข้าสู่อาเซียนแล้วแล้ว เราเตรียมตัวอย่างไรอาจจะมีการจัดเวทีให้หน่วยงานและคนระดับรากหญ้าลุกขึ้น มาพูดโดยเชิญหน่วยงานมาฟังเพราะเป็นหน้าที่ของทุกคนไม่ใช่คนเฉพาะกลุ่ม

วัน ศุกร์เป็นวันสำคัญของพี่น้องมุสลิมในความคิดของผมคือมูลเหตุทีทำให้ใครออก มาบอกว่าให้หยุดวันศุกร์สมควรหยุดหรือไม่นับเป็นอีกประเด็นหนึ่งที่สร้าง ความเชื่อมั่นองคนที่อยู่ร่วมกันในสังคมจะเชื่ออะไร อยู่บนพื้นฐานของจังเองโดยอาศัยการพิจารณาและวิจารณญาณไม่ว่าจะเป็นข่าวลือ หรือไม่ ภาคประชาสังคมมีส่วนในการแก้ปัญหาหรือไม่และได้มีการขอร่วมมือในการเปิดไฟ หน้าล้านจากประชาชนและกลับไม่ได้ความร่วมมือ แระชาชนไม่มั่นใจหรือเปล่าที่ไม่ให้ความร่วมมออาจะเป็นเพราะว่าประชาชนยัง ไม่เชื่อว่าหน่วยงานที่จะสามารถแก้ปัญหาด้วยความจริงใจหรือไม่ในการแก้ปัญหา อาจจะสังเกตจากการไม่ให้ความร่วมมือของประชาชนที่ไม่ยอมเปิดไฟเป็นเพราะอะไร ต้องย้อนกลับถามความมั่นคงที่ภาคประชาชนไม่ให้ความร่วมมืออาจด้วยประชาชนไม่ มีความมั่นใจในการแก้ปัญหาของภาครัฐ เรื่องสามจังหวัดเป็นเรื่องละเอียดอ่านเมื่อเทียบกับต่างประเทศไม่ว่าจะ กำหนดมาตรการต่างๆหรือนโยบายส่วนหนึ่งมาจากการ่วมมือจากภาคประชาสังคมและภาค ประชาชนซึ่งปัญหาภาครัฐต้องเปิดพื้นที่ให้กับภาคประชาสังคมและภาคประชาชนมี ส่วนร่วมในการกำหนดมาตรการต่างๆ เช่น มีการใช้สติ๊กเกอร์เปะโดยขาดการประชาสัมพันธ์ให้กับชาบ้านโดยขาดเจ้าภาพใน การเปิดพื้นที่การสื่อสารโดยเฉพาะพื้นที่มีความละเอียดอ่อนผมว่ากลไกของรัฐ ที่สำคัญในการเปิดพื้นที่แล้วมานั่งแชร์ว่าเป็นอย่างไร

ทางด้านซารียะ ห์ บินสะมะแอ ได้กล่าวถึงประเด็นวันศุกร์อาจะชดเชยวันอาทิตย์เห็นด้วยดิฉันมองว่าเศรษฐกิจ ต้องการให้ชูคน หรือวัฒนธรรมการศึกษาของชาวบ้านเกี่ยวกับเซนติโซนว่าพื้นที่ใดเป็นอย่างไร

มุสลิม หลายหลากประเทศที่ไม่ปิดวันศุกร์ผมว่าการปิดวันศุกร์ไม่ใช่ประเด็นไม่ว่าจะ เป็นฟิลิปปินส์หรืออินโดผมคิดว่าประเด็นวันศุกร์ไม่ใช่ประเด็น แต่ที่จะปิดไม่ปิดไม่ใช่ประเด็นทุกคนก็ละหมาดประเด็นที่ว่าการไม่ปิดวัน ศุกร์เราจะแก้ปัญหาอย่างไรและการมีส่วนร่วมจะรับรู้ข่าวลือมากกว่า และในการจัดกิจกรรมของภาคประชาสังคมก้อไม่ได้ไปเน้นอัตลักษณ์อะไรเพราะทุก ครั้งที่มีการประชุมก็ใช้ภาษาไทยเป็นหลักซึ่งเป็นหน้าที่ของเราที่จะต้องแก้ ปัญหากับข่าวลือหอการค้าจะสะท้อนอะไรที่เกี่ยวข้องกับการค้าและเป็นมุมมอง ที่หอการค้ารับผิดชอบ

จากนั้นนูรีซัน ดอเลาะ นายกสมาคมสตรีจังหวัดชายแดนภายใต้เพื่อสันติภาพ ตามหลักอิสลามไม่ได้ให้หยุดวันศุกร์แต่ให้เราปฎิบัติศาสนกิจให้ครบสมบูรณ์ก็ เพียงพอการแก้ปัญหาโดยให้หยุดวันศุกร์จะกระทบหลายๆด้านและหลายๆฝ่ายที่มาที่ ไปของข่าวลือมาจากไหนหากคำตอบได้และการแก้ปัญหาไม่น่าจะยากและสามารถแก้ ปัญหาตรงจุดได้คะ

และอัญชลี แสงเพ็ชร สามารถมองปัญหาได้ สองแบบ หนึ่งการมีส่วนรวมและการใช้ประชาธิปไตยสอง การอำนาจรวมศูนย์อำนาจ รัฐบาลเป็นกำหนดนโยบายโดยประชาชนเห็นด้วยหรือเปล่าไม่ว่าจะเป็นเซฟตี้โชนคน คิดกับคนทำไม่ได้มาคุยกันคนคิดคนทำและคนที่ได้รับผลการะทบไม่โอกาสได้มาคุย กัน หากปาตานีฟอรั่มเป็นศูนย์กลางที่สามารถดึงคนคิด คนทำและคนที่ได้รับผลกระทบมาคุยกันน่าจะมาคุยกันจริงๆ นโยบายของรัฐ รัฐบาลกลางเป็นคนคิดตั้งแต่ปี 40 เกิดวิกฤตเศรษฐกิจกระทบหมดแต่ที่กระทบบ้านเราจริงๆเป็นปี 47 ยะลา ปัตตานี นราธิวาสกระทบสองประเด็น กระทบทั้งความมั่นคง และเศรษฐกิจถามว่าวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นเกิดอะไรขึ้นทั้งเรื่องความมั่น คงและเรื่องปากท้องมันหนัก ชาบ้านไม่ได้มานั่งฟังการแชร์ความคิดด้วยของหน่วยงานคนที่ได้รับผลกระทบอาทิ คนที่ค้าขาย เขาไม่สนใจว่าวันศุกร์จะปิดหรือไม่ปิดเพียงแต่คิดว่า วันนี้จะมีรายได้เท่าไหร่

เรื่องเซฟตี้โซนเป็นประเด็นสำคัญหากถามความ เป็นจริงคงจะไม่พอกับแรงกำลังของพวกเราในการแก้ปัญหาแต่อย่างน้อยได้จุด ประเด็นให้เกิดการพูดคุยนับเป็นหน้าที่ของพวกเราไม่ควรไปหวังกับภาครัฐอย่าง เดียวแต่หากถามว่าเป็นหน้าที่ของใครก็จะต้อตอบว่าเป็นหน้าที่ของรัฐบาลเพราะ รัฐบาลมีเครื่องมือในการแก้ปัญหาส่วนประชาชนเองมีส่วนในการให้ความร่วมมือ เพื่อให้พื้นที่เรามีความปลอดภัยและมีส่วนรวมของหลากหลายภาคส่วนเข้ามาแก้ ปัญหาไม่ว่าจะเป็นกำหนดนโยบายและควรที่จะสรุปนโยบายทุกครั้งเมื่อได้ใช้ นโยบายนั้น